สถิติ
เปิดเว็บ | 15/04/2010 |
อัพเดท | 13/11/2024 |
ผู้เข้าชม | 11,422,799 |
เปิดเพจ | 17,077,555 |
สินค้าทั้งหมด | 2,001 |
พุทธธรรม750-รวมค่าห่อของขวัญ
ข้อมูลสินค้า
-
รหัสสินค้า
พุทธธรรม750
-
เข้าชม
3,145 ครั้ง
-
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/12/2015 13:08
-
รายละเอียดสินค้า
พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย
โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)(แบบ รวมค่าห่อของขวัญ 50 -.บาท
ด้วยวัดสุคุณภาพ สวยงาม และ งานห่อหนังสือแบบ ประณีต)
แยกราคา คือ หนังสือพุทธธรรม 700 บาท
ห่อ GIFT 50 บาท
มีค่าจัดส่ง EMS 120 บาทมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จัดพิมพ์เผยแพร่
หนังสือ ปกแข็ง หุ้มหนังอย่างดี เย็บกี่
กระดาษ ถนอมสายตาสีครีม
จำนวน 1360 หน้า
จัดพิมพ์ครั้งที่ 39 พ.ศ. 2557
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย จำนวน 15,000 เล่ม
---อนุโมทนา---
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นสถาบันหลักที่ได้ตีพิมพ์หนังสือ
พุทธธรรมเผยแพร่มาตั้งแต่ระยะแรก เริ่มด้วยพิมพ์ พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ
ในพ.ศ.2529 อันเป็นครั้งที่ ๓ จนถึงวาระล่าสุดใน พ.ศ.2511 อันเป็นครั้งที่ 11
บัดนี้ หนังสือพุทธธรรมนั้นได้พัฒนาขึ้นมาเป็นฉบับที่ใช้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ และตีพิมพ์
ในชื่อที่ตัดสั้นลงให้เรียกง่ายขึ้นว่า พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย
ณ โอกาสนี้ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย แจ้งว่า หนังสือพุทธธรรม
ที่พิมพ์เผยแพร่ครั้งก่อนนั้น หมดไปแล้ว จึงประจงค์จะตีพิมพ์ขึ้นใหม่ เพื่อมอบ
เป็นธรรมบรรณาการแก่ผู้มีอุปการคุณของมหาวิทยาลัย และเพื่อจัดจำหน่ายต่อไป
ขออนุโมทนากัลยาณฉันทะของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในการส่งเสริมการศึกษา ช่วยกันแผ่ขยายความรู้เข้าใจธรรม อันจะมีผลเป็นการดำรงรักษาสืบ
อายุพระพุทธศาสนา พร้อมทั้งเป็นปัจจัยเสริมสร้างประโญชน์สุข
แห่งมหาชน ให้แพร่หลายเพิ่มพูน เพื่อสัมฤทธิ์ความไพบูลย์ ทั้งอามิสไพบูลย์ และธรรมไพบูลย์
ยั่งยืนนานสืบไป
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)
1 พฤษภาคม 2557
.........................................................
ควรทราบก่อนอ่าน (บทคัดย่อ)
หนังสือนี้เรียงเนื้อหาตามลำดับหลักธรรม แต่อาจเลือกอ่านที่ใดๆ ตามที่ง่ายหรือสนใจ
เนื้อหาของหนังสือนี้ได้เรียงตามลำดับหลักวิชาทางพระพุทธศาสนา ซึ่งถือว่าได้จัดไว้อย่างเป็นระบบ
จึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการหาคามรู้เกี่ยวกับธรรมอย่างเอาจริงเอาจัง
หรือศึกษาพุทธศาสนาอย่างเป็นวิชาการ แต่สำหรับผู้สนใจในทางปฏิบัติ ไม่จำเป็นต้องอ่านทุกส่วน
โดยตลอดหรือต้องอ่านไปตามลำดับ ตรงข้าม จะเลือกอ่านส่วนใดตอนใด
และก่อนหลับกันอย่างไรก็ได้ สุดแต่สนใจหรือเห็นว่าเข้าใจง่าย
เช่นผู้ใหม่ อาจเริ่มด้วย บทที่ 22 (บทสรุป : อริยสัจ 4)
หรือผู้สนใจเรื่องสมาธิอาจอ่านเฉพาะบทที่ 21 ซึ่งว่าด้วยสมาธิ ดังนี้เป็นต้น
สารบาญ
ภาค 1 มัชเฌนธรรมเทศนา หลักความเป็นจริงตามธรรมชาติ หรือ ธรรมที่เป็นกลาง
ความนำ-สิ่งที่ควรเข้าใจก่อน-ลักษณะทั่วไปของพุทธรรม-พุทธธรรม หรือ กฎธรรมชาติและคุณค่าสำหรับชีวิต
สิ่งที่ควรเข้าใจก่อน
ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม
ตอน 1 ชีวิตคืออะไร : ก.ชีวิตตามสภาพของมันเอง
บทที่ 1 ขันธ์ 5 : ส่วนประกอบ 5 อย่างของชีวิต ตัวสภาวะสัญญา-สติ-ความจำ
สัญญา-วิญญาณ-ปัญญา
ความสัมพันธ์ระหว่างขันธ์ต่างๆ
ขันธ์ 5 กับ อุปทานขันธ์ 5 หรือ ชีวิต กับ ชีวิตซึ่งเป็นปัญหา
คุณค่าทางจริยธรรม
บันทึกพิเศษท้ายบท : ความรู้ประกอบเกี่ยวกับ ขันธ์ 5
ตอน 1 ชีวิตคืออะไร : ข.ชีวิตตามความหมายของมนุษย์ และโดยสัมพันธ์กับโลก
บทที่ 2 อายตนะ 6 : แดนรับรู้และเสพเสวยโลก ตัวสภาวะ-ประเภทและระดับของความรู้ ก.จำแนกโดยสภาวะ
ข.จำแนกโดยทางรับรู้
ค.จำแนกโดยพัฒนาการทางปัญญา
ง.จำแนกโดยกิจกรรมและผลงานของมนุษย์ หน้า 53 -ความถูกต้องและผิดพลาดของความรู้
ก.สัจจะ 2 ระดับ
ข.วิปลาส 3
-พุทธพจน์เกี่ยวกับอายตนะ
-คุณค่าทางจริยธรรม
ตอน 2 ชีวิตเป็นอย่างไร ? : ไตรลักษณ์ ลักษณะโดยธรรมชาติ 3 อย่างของสิ่งทั้งปวงบทที่ 3 ตัวกฎหรือตัวสภาวะ
ตอน 3 ชีวิตเป็นอย่างไร ? : ปฏิจจสมุปบาท - การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมี
บทที่ 4 ตัวกฎหรือตัวสภาวะบทที่ 5 กรรม ในฐานะหลักธรรม ที่เนื่องอยู่ในปฏิจจสมุปบาท
ตอน 4 ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร ? :
บทที่ 6 วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพานบทที่ 7 ประเภท และ ระดับ แห่ง นิพพาน และ ผู้บรรลุนิพพาน
บทที่ 8 ข้อควรทราบ เพิ่มเติม เพื่อเสริมความเข้าใจ : สมถะ-วิปัสสนา, เจโตวิมุตติ - ปัญญาวิมุตติ
บทที่ 9 หลักการสำคัญ ของการบรรลุนิพพาน
บทที่ 10 บทสรุปเกี่ยวกับเรื่อง นิพพาน
บทที่ 11 บทความประกอบที่ 1 : ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน
บทที่ 12 บทความประกอบที่ 2 : ศีล กับ เจตนารมณ์ ทางสังคม
บทที่ 13 บทความประกอบที่ 3 : ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร
เรื่อง เหนือสามัญวิสัย : ปาฏิหารย์ - เทวดา
บทที่ 14 บทความประกอบที่ 4 : ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ
บทที่ 15 บทความประกอบที่ 5 : ความสุข
ตอน 5 ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร ? :
บทที่ 16 มัชฌิมาปฏิปทา ต่อเนื่องจาก มัชเฌนธรรมเทศนาบทที่ 17 บุพภาคของการศึกษา หรือ บุพนิมิตแห่ง มัชฌิมาปฏิปทา ปรโตโฆษะที่ดี- กัลยาณมิตร
บทที่ 18 บุพภาคของการศึกษา 2 โยโสมนสิการ-วิธีการแห่งปัญญา
บทที่ 19 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 1 : หมวดปัญญา
บทที่ 20 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 2 : หมวดศึล
บทที่ 21 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 3 : หมวดสมาธิ
บทที่ 22 บทสรุป : อริสัจ 4
.........................................................................................
สารบาญพิศดาร
คำปรารภ
อักษรย่อชื่อคัมภีร์
สารบาญ
สารบาญพิศดาร
ความนำ
สิ่งที่ควรเข้าใจก่อน
ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม
ภาค 1 มัชเฌนธรรมเทศนา
หลักความจริงที่เป็นกลางตามธรรมชาติ หรือ ธรรมที่เป็นกลาง
ตอน 1 ชีวิตคืออะไร ?
บทที่ 1 ขันธ์ 5 : ส่วนประกอบ 5 อย่างของชีวิต
-ตัวสภาวะ
สัญญา-สติ-ความจำ
สัญญา-วิญญาณ-ปัญญา
-ความสัมพันธ์ระหว่างขันธ์ต่างๆ
-ขันธ์ 5 กับอุปทานขันธ์ 5 หรือ ชีวิตกับชีวิตซึ่่งเป็นปัญหา
-คุณค่าทางจริยธรรม
-บันทึกพิเศษท้ายบท : ความรู้ประกอบเกี่ยวกับขันธ์ 5
บทที่ 2 อายตนะ 6 : แดนรับรู้และเสพเสวยฌลก
-ตัวสภาวะ
-ประเภทและระดับของความรู้
ก.จำแนกโดยสภาวะธรรม หรือโดยธรรมชาติของความรู้
ข.จำแนกโดยทางรับรู้
ค.จำแนกโดยพัฒนาการทางปัญญา
ง.จำแนกโดยกิจกรรมและผลงานของมนุษย์
-ความถูกต้องและผิดพลาดของความรู้
ก.สัจจะ 2 ระดับ
ข.วิปลาส 3
-พุทธพจน์เกี่ยวกับอายตนะ
-คุณค่าทางจริยธรรม
ตอน 2 ชีวิตเป็นอย่างไร ?
บทที่ 3 ไตรลักษณ์ : ลักษณะโดยธรรมชาติ 3 อย่าง ของสิ่งทั้งปวง
-ตัวกฎหรือตัวสภาวะ
-คุณค่าทางจริยธรรม
ตอน 3 ชีวิตเป็นไปอย่างไร ?
บทที่ 4 ปฏิจจสมุปบาท : การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกัน ๆ จึงเกิดมี
-ตัวกฎหรือตัวสภาวะ
1.ฐานะและความสำคัญ
2.ตัวบทและแบบความสำพันธ์ในปฏิจจสมุปบาท
3.การแปลความหมายหลักปฏิจจสมุปบาท
4.ความหมายโดยสรุป เพื่อความเข้าใจเบื้องต้น
5.คำอธิบายตามแบบ
ก.หัวข้อและโครงรูป
ข.คำจำกัดความองค์ประกอบหรือหัวข้อตามลำดับ
ค.ตัวอย่างคำอธิบายแบบช่วงกว้างที่สุด
6.ความหมายในชีวิตประจำวัน
-ความหมายเชิงอธิบาย
-คำอธิบายแสดงความสัมพันธ์อย่างง่าย
-ตัวอย่างกรณีปลีกย่อยในชีวิตประจำวัน
7.ความหมายลึกซึ้งขององค์ธรรมบางข้อ
-ปฏิจจสมุปบาทในฐานะมัชเฌนธรรมเทศนา
-ปฏิจจสมุปบาทในฐานะปัจจยาการทางสังคม
-หมายเหตุ : การตีความเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บันทึกที่ 1 : ตัวเรา ของเรา ตัวกู ของกู
บันทึกที่ 2 : เกิดและตายแบบปัจจุบัน
บันทึกที่ 3 : ปฏิจจสมุปบาทแนวอภิธรรม
บันทึกที่ 4 : ปัญหาการแปลคำว่า "นิโรธ"
บันทึกที่ 5 : ความหมายย่อขององค์ธรรมในปฏิจจสมุปบาท
บทที่ 5 กรรม ในฐานะหลักธรรมที่เนื่องอยู่ในปฏิจจสมุปบาท
-ความนำ
-กฎแห่งกรรม
-ความหมายและประเภทของกรรม
-ปัญหาเกี่ยวกับความดี-ความชั่ว
ก.ความหมายของกุศลและอกุศล
ข.ข้อควรทราบพิเศษเกี่ยวกับกุศลและอกุศล
1.กุศลและอกุศลเป็นปัจจัยแก่กันได้
2.บุญและบาป กับ กุศลและอกุศล
ค.เกณฑ์วินิจฉัยกรรมดี-กรรมชั่ว
-ปัญหาเกี่ยวกับการให้ผลของกรรมดี-กรรมชั่ว
-ผลกรรมในช่วงกว้างไกล
-ข้อควรทราบพิเศษเพื่อป้องกันความเข้าใจผิด
1.สุขทุกข์ ใครทำให้ ?
2.เชื่ออย่างไรผิดหลักธรรม ?
3.กรรมชำระล้างได้อย่างไร ?
4.กรรมกับอนัตตา ขัดกันหรือไม่ ?
-คุณค่าทางจริยธรรม
-บันทึกพิเศษท้ายบท : กรรม 12
ตอน 4 ชีวิตควรเป็นอย่างไร ?
บทที่ 6 วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน : ประโยชน์สูงสุดที่ควรจะได้จากชีวิตนี้
-กระบวนธรรมดับทุกข์ หรือปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร
-ภาวะแห่งนิพพาน
-ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน
1.ภาวะทางปัญญา
2.ภาวะทางจิต
3.ภาวะทางความประพฤติ หรือการดำเนินชีวิต
บทที่ 7 ประเภทและระดับแห่งนิพพานและผู้บรรลุนิพพาน
1.ประเภทและระดับของนิพพาน
1.สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ
2.อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ
นิโรธ 5
2.ประเภทและระดับของผู้บรรลุนิพพาน
คำว่า "อริยะ"
คำว่า "ทักขิไณย"
แบบที่ 1 : ทักขิไณยบุคคล 8 หรืออริยบุคคล 8
สังโยชน์ 10
พระเลขะหรือสอุปาทิเสสบุคคล และพระอเสขะหรืออนุปาทิเสสบุคคล
แบบที่ 2 : ทักขิไณยบุคคล 7 หรืออริยบุคคล 7
พระเลขะหรือสอุปาทิเสสบุคคล และพระอเสขะหรืออนุปาทิเสสบุคคล
พระอรหันต์ประเภทต่างๆ
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บันทึกที่ 1 : สอุปาทิเสส และอนุปาทิเสส
บันทึกที่ 2 : ความหมายของ ทิฏฐธัมมิกะ และสัมปรายิกะ
บันทึกที่ 3 : จริมจิต
บันทึกที่ 4 : สีลัพพตปรามาส
บันทึกที่ 5 : ความหมายของ "ฌาน"
บทที่ 8 ข้อควรทราบเพิ่มเติมเพื่อเสริมความเข้าใจ
1.สมถะ-วิปัสสนา
2.เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ
-บันทึกพิเศษท้ายบท : ความเข้าใจเกี่ยวกับอนัตตาและนิพพาน
บทที่ 9 หลักการสำคัญของการบรรลุนิพพาน
ก.หลักทั่วไป
ข.หลักมาตรฐานด้านสมถะ
ค.หลักมาตรฐานด้านวิปัสสนา
ง.หลักการปฏิบัติที่จัดเป็นระบบ (สรุปความวิสุทธิมัคค์ 951 หน้า)
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บันทึกที่ 1 : คำว่า "บรรลุนิพพาน"
บันทึกที่ 2 : ในฌาน เจริญวิปัสสนา หรือบรรลุมรรคผล ได้หรือไม่
บันทึกที่ 3 : เนวสัญญานาสัญญายตนะ ใช้ทำวิปัสสนาไม่ได้ ?
บันทึกที่ 4 : ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล
บทที่ 10 บทสรุปเรื่องเกี่ยวกับนิพพาน
-คุณค่าและลักษณะที่พึงสังเกตเกี่ยวกับนิพพาน
1.จุดหมายสูงสุดของชีวิตเป็นสิ่งที่อาจบรรลุได้ในชาตินี้
2.นิพพานเป็นจุดหมายที่ทุกคนเข้าถึงได้ ไม่จำกัดชาติชั้น หญิงชาย
3.นิพพานอำนวยผลที่ยิ่งกว่าลำพังความสำเร็จทางจิตจะให้ได้
-จุดที่มักเขว หรือเข้าใจพลาดเกี่ยวกับนิพพาน
1.ความยึดมั่นในความไม่ยึดมั่น
2.ลักษณะที่ชวนให้สับสนหรือหลงเข้าใจผิด
3.ความสุขกับความพร้อมที่จะมีความสุข
-ปัญหาสำคัญเกี่ยวกับนิพพาน
1.นิพพานกับอัตตา
2.พระอรหันต์สิ้นชีวิตแล้วเป็นอย่างไร
บทที่ 11 บทความประกอบที่ 1 : ชีวิตและคุณธรรมพื้นบ้านของอารยชน
-ข้อความทั่วไป และคุณสมบัติโดยสรุป
ก.คำเรียก คำแสดงคุณลักษณะ และไวพจน์ต่างๆ ของบุคคลโสดาบัน
ข.คุณสมบัติทั่วไป
ค.คุณสมบัติในแง่ละได้
ง.คุณสมบัติและข้อปฏิบัติก่อนเป็นโสดาบัน
-ความเข้าใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณสมบัติสำคัญของบุคคลโสดาบัน
-บันทึกพิเศษท้ายบท :
บันทึกที่ 1 : ความหมายของ สุตวา อริยสาวก และอริยธรรม เป็นต้น
บันทึกที่ 2 : เหตุที่คนให้ทาน
บทที่ 12 บทความประกอบที่ 2 : ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม
ศีลที่เป็นธรรมกับศีลที่เป็นวินัย
สำนึกในการรักษาศีล หรือปฏิบัติตามศีล
วัตถุประสงค์ของการบัญญัติวินัย
การแสดงความเคารพ
การอวดอุตริมนุษยธรรม
สังฆทาน
-สรุปความ
ความเคารพในสงฆ์ การถือสงค์ และประโยชน์สุขส่วนรวมเป็นใหญ่
ระเบียบชีวิต ระบบสังคม และหลักการแห่งธรรมวินัย
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บันทึกที่ 1 :แสดงธรรม บัญญัติวินัย
บันทึกที่ 2 :ศีล วินัย ศีลธรรม
บันทึกที่ 3 :ความหมายบางอย่างของวินัย
บันทึกที่ 4 :การปฏิบัติเพื่อประโยชน์สุขของพหูสูตร
บันทึกที่ 5 :เคารพธรรม เคารพวินัย
บันทึกที่ 6 :การเคารพตามอายุสมาชิกภาพ
บทที่ 13 บทความประกอบที่ 3 อิทธิปาฏิหาริย์ และเทวดา
-อิทธิปาฏิหาริย์
-เทวดา
-สรุปวิธีปฏิบัติ
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บันทึกที่ 1 : อิทธิปาฏิหาริย์ในคัมภีร์
บันทึกที่ 2 : การช่วยและการแกล้งของพระอินทร์
บันทึกที่ 3 : สัจกิริยา ทางออกที่ดีสำหรับผู้ยังหวังอำนาจดลบันดาล
บันทึกที่ 4 : พระพุทธ เป็นมนุษย์หรือเทวดา
บทที่ 14 บทความประกอบที่ 4 : ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ
-ความเข้าใจเบื้องต้น เพื่อแก้และกันความสับสน
-แรงจูงใจในพุทธธรรม : ตัณหา-ฉันทะ
ตัณหา
ฉันทะ
ตัวอย่างแสดงความแตกต่างระหว่าง ตัณหา กับฉันทะ
ผลแตกต่างทางจริยธรรม ระหว่างตัณหากับฉันทะ
ความต้องการในการกินและการสืบพันธุ์
-ข้อพิจารณาเชิงซับซ้อน
เมตตา
ตัณหา-เสน่หา ฉันทะ-เมตตา
ฉันทะอยากทำชั่ว ตัณหาอยากทำดี มีหรือไม่
ฉันทะกับตัณหา เกิดแทรกสลับเป็นปัจจัยแก่กันได้
วิธีปฏิบัติต่อฉันทะและตัณหา-บทสรุป
พระอรหันต์สิ้นตัรหาแล้ว จะมีอะไรเป็นแรงจูงใจ
ตารางเปรียบเทียบ ตัณหา กับฉันทะ
ตัวอย่างพฤติกรรมที่เนื่องด้วยตัณหาและฉันทะ
บทที่ 15 : บทความประกอบที่ 5 : ความสุข
-ความสำคัญของความสุข ในหลักพุทธธรรม
-ขั้นหรือประเภทต่างๆของความสุข
กามสุข
โทษของกาม
เหตุใดผู้ประสบสุขประณีตจึงไม่เห็นคุณของกามสุข
ฌานสุข และข้อบกพร่องของฌานสุข
สุขที่ไม่เป็นเวทนา
การเข้าถึงความสุขที่สูงขึ้นไปๆ
เปรียบเทียบกามสุขกับสุขประณีต และสรุปขั้น-ประเภทของความสุข
-บทสรุป : วิธีปฏิบัติต่อความสุข
-บันทึกพิเศษท้ายบท :
บันทึกที่ 1 : ความสุขจัดเป็นคู่ๆ
บันทึกที่ 2 : ความสุขจัดเป็นสามระดับ (อีกแบบหนึ่ง)
ภาค 2 มัชฌิมาปฏิปทา
ข้อปฏิบัติที่เป็นกลางตามกฎธรรมชาติ หรือ ทางสายกลาง
ตอน 5 ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร
บทที่ 16 บทนำของมัชฌิมาปฏิปทา
-มัชฌิมาปฏิปทาต่อเนื่องจากมัชเฌนธรรมเทศนา
จากกระบวนการของธรรมชาตินิโรธ สู่การปฏิบัติของมนุษย์ในมรรค
กระบวนธรรมแห่งความดับทุกข์แบบต่างๆ
1.จากปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร สู่มัชฌิมาปฏิปทาหรือมรรค
2.กระบวนการกุศลธรรมนำสู่วิมุตติ
3.กระบวนการปฏิบัติแบบลำดับขั้นตอน
ธรรมเป็นอาหารอุดหนุนกัน
พรหมจรรย์ที่สำเร็จผล
วิสุทธิ 7
จรณะ 15 และวิชชา 3
อนุบุพพสิกขา หรืออนุบุพพปฏิปทา
ธรรมจริยา หรือกุศลกรรมบถ 10
-ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับมัชฌิมาปฏิปทา
มรรคในฐานะมัชฌิมาปฏิปทา
มรรคในฐานะข้อปฏิบัติ หรือทางชีวิตทั้งของบรรพชิตและคฤหัสถ์
มรรคในฐานะหลักปฏิบัติที่ต่อเนื่องด้วยสังคม
มรรคในฐานะทางให้ถึงความสิ้นกรรม
มรรคในฐานะอุปกรณ์สำหรับใช้ มิใช่ยึดถือหรือแบกโก้ไว้
มรรคในฐานะพรหมจรรย์ หรือพุทธจริยธรรม
มรรคในฐานะมรรคาสู่จุดมุ่งหมายขั้นต่างๆของชีวิต : อรรถะ 3 สองแบบ
มรรคในฐานะไตรสิกขา หรือระบบการศึกษาสำหรับสร้างอารยชน
จากมรรคสู่ไตรสิกขา
ระบบของมัชฌิมาปฏิปทา
ความก้วหน้าในมรรคา
-บันทึกพิเศษท้ายบท 4 เรื่อง
บันทึกที่ 1 : การจัดธรรมจริยาเข้าในไตรสิกขา
บันทึกที่ 2 : การเรียกชื่อศีล 5 และธรรมจริยา 10
บันทึกที่ 3 : ความหมายของคำว่าศีลธรรม
บันทึกที่ 4 : ความหมายตามแบบแผนของไตรสิกขา
บทที่ 17 บุพภาคของการศึกษา หรือบุพนิมิตแห่งมัชฌิมาปฏิปทา 1 : ปรโตโฆสะที่ดี
-ปัจจัยแห่งสัมมาทิฏฐิ 2
-ปรโตโฆสะกัลยาณมิตร
-คุณสมบัตรของกัลยาณมิตร
สัตบุรุษ
บัณฑิต
กัลยาณมิตรธรรม
พระสงฆ์ในฐานะกัลยาณมิตร และกัลยาณมิตรอย่างสูง
-การทำหน้าที่ของกัลยาณมิตร : จากปรโตโฆสะ สู่โยนิโสมนสิการ
สัมมาทิฏฐิ 2
-หลักศรัทธาโดยสรุป
-พุทธพจน์แสดงหลักศรัทธา
กาลามสูตร
สัจจานุรักษ์ ไม่ผูกขาดสัจธรรม
ตรวจสอบพระศาสดา
ขีดจะกัดของศรัทธา
ไม่ต้องมีศรัทธา-ปัญญาแทน
บทที่ 18 บุพภาคของการศึกษา หรือบุพนิมิตแห่งมัชฌิมาปฏิปทา 2 : โยนิโสมนสิการ
-โยนิโสมนสิการ : วิธีแห่งปัญญา (องค์ประกอบภายใน)
-ความสำคัญของโยนิโสมนสิการ
-ความหมายของโยนิโสมนสิการ
-วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
1.วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย (แบบอิทัปปัจจยตา หรือแบบปัจจยาการ)
2.วิธีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ
3.วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์ (แบบรู้เท่าทันธรรมดา)
4.วิธีคิดแบบอริยสัจจ์ (แบบแก้ปัญหา)
5.วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ (แบบหลักการและความมุ่งหมาย)
6.วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก (แบบอัสสาทะ อาทีนวะ และนิสสรณะ)
7.วิธีคิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม
8.วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม (แบบกุศลภาวนา)
9.วิธีคิดแบบเป็นอยู่ในปัจจุบัน
10.วิธีคิดแบบวิภัชชวาท
เตรียมเข้าสู่มัชฌิมาปฏิปทา
-พระรัตนตรัย
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บันทึกที่ 1 : วิธีคิดแบบแก้ปัญกา : วิธีคิดแบบอริยสัจ กับวิธีคิดแบบวิทยาศาตร์
บทที่ 19 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 1 : หมวดปัญญา
1.สัมมาทิฏฐิ
ความสำคัญของสัมมาทิฏฐิ
คำจำกัดความของสัมมาทิฏฐิ
ข้อควรทราบทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาทิฏฐิ
1.โลกียสัมมาทิฏฐิ
2.โลกุตตรสัมมาทิฏฐิ
สัมมาทิฏฐิการศึกษา
2.สัมมาสังกัปปะ
คำจำกัดความ
ข้อวิจารย์เรื่องทำไมดีจึงแค่ปฏิเสธชั่ว
ข้อวิจารณ์เกี่ยวกับเมตตา
หมายเหตุ : จริยธรรมขั้นความคิด กับจริยธรรมขั้นปฏิบัติการ
บทที่ 20 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 2 : หมวดศีล
3.-4.-5.สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ : คำจำกัดความและความหมาย
-เหตุใดความหมายของศีลจึงมีรูปลักษณะเป็นคำปฏิเสธ
-ศีลสำหรับประชาชน
ก.ศีลพื้นฐาน
ข.ศีลเพื่อเสริมความดีงามของชีวิตและสังคม
-หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาอาชีวะ
ก.การแสวงหาและรักษาทรัพย์
ข.ความสุขอันชอบธรรมที่คฤหัสถ์ควรมี
ค.การใช้จ่ายทรัพย์
ข้อวิจารณ์เกี่ยวกับ ทรัพย์ ชีวิตที่ดีงาม สังคม ชีวิตพระ ชีวิตคฤหัสถ์
บทที่ 21 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 3 : หมวดสมาธิ
6.สัมมาวายามะ
-คำจำกัดความและความหมาย
-ความสำคัญและขอบเขตความสำคัญของความเพียร
-การปฏิบัติธรรมอาศัยสภาพแวดล้อม
7.สัมมาสติ
-คำจำกัดความ
-สติในฐานะอัปปมาทธรรม
-สติพิจารณาโดยคุณค่าทางสังคม
-บทบาทของสติในกระบวนการพัฒนาปัญญา หรือการกำจัดสวกิเลส
-สติปัฏฐานในฐานะสัมมาสติ
-สาระสำคัญของสติปัฏฐาน
ก.กระบวนการปฏิบัติ
ข.ผลของการปฏิบัติ
-เหตุใดสติที่ตามทันปัจจุบัน จึงเป็นหลักสำคัญของวิปัสสนา
8.สัมมาสมาธิ
ก.ความหมาย
ข.ระดับของสมาธิ
ค.สิ่งที่ไม่ใช่สมาธิ หรือศัตรูของสมาธิ
ง.ลักษณะของจิตที่เป็นสมาธิ
จ.ความมุ่งหมายและประโยชน์ของสมาธิ
ฉ.วิธีเจริญหรือฝึกสมาธิ
1.การเจริญสมาธิตามวิธีธรรมชาติ
2.การเจริญสมาธิตามหลักอิทธิบาท หรือฝึกสมาธิด้วยงาน
3.การเจริญสมาธิอย่างสามัญ หรือฝึกสมาธิโดยใช้สตินำ
4.การเจริญสมาธิอย่างเป็นแบบแผน
ปลิโพธ
กรรมฐาน 40
จริยาและจริต 6
นิมิต 3 และ ภาวนา 3
ช.ตัวอย่างวิธีเจริญสมาธิ : อานาปานสติ-สาระสำคัญ
1.เตรียมการ
2.ขั้นปฏิบัติ คือ ลงมือกำหนดลมหายใจ
ญ.ผลสำเร็จและขอบเขตความสำคัญของสมาธิ
ฎ.องค์ประกอบต่างๆที่ค้ำจุน เกื้อหนุน และเสริมประโยชน์ของสมาธิ
1.ฐาน ปัฏฐาน และที่หมายของสมาธิ
2.องค์ประกอบร่วมของสมาธิ : องค์ฌาน
3.เครื่องวัดความพร้อม : อินทรีย์
4.สนามปฏิบัติการทางปัญญา : โพชฌงค์
5.ความพร้อมเพรียงขององค์มรรค : ธรรมสามัคคี
ปฏิปทา 4
สรุปบทธรรม
-บันทึกพิเศษท้ายบท
บททึกที่ 1 : การเจริยสติปัฏฐาน คือการอยู่อย่างไม่มีทุกข์ที่จะต้องดับ
บทสรุป
บทที่ 22 อริยสัจ 4
-ฐานะและความสำคัญของอริยสัจ
-ความหมายของอริยสัจ
-อริยสัจกับปฏิจจสมุปบาท
-กิจในอริยสัจ
-แนวอธิบายอริยสัจโดยสังเขป
พระรัตนตรัย
ไตรสิกขา
-วิธีแก้ปัญหาแบบพุทธ
-คุณค่าที่เด่นของอริยสัจ
-สรุปพุทธธรรมลงในอริยสัจ
-บันทึกพิเศษเสริมบทสรุป : ข้อสังเกตบางประการในการศึกษาพุทธธรรม
บันทึกของผู้เขียน
บรรณานุกรม
ดัชนี
แทรกเพิ่ม
บทที่ 3
-คำอธิบายไตรลักษณ์ตามหลักวิชาในคัมภีร์
-คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์
-พุธพจน์เกี่ยวกับไตรลักษณ์
บทที่ 4
บันทึกที่ 6 : ความหมายของภวตัณหาและวิภวตัณหา
ดัชนีภาคผนวก
....................................................................
คำปรารภ-ฉบับก่อนหน้านี้
หนังสือพุทธรรม เป็นผลงานค้นคว้าชิ้นเอกของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
ซึ่งพิมพ์ออกเผยแพร่ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยโครงการตำราสังคมศาสตร์และ
มนุษย์ศาสตร์ จัดพิมพ์ต่อมา ใน พ.ศ. ๒๕๒๕ ท่านผู้เรียบเรียง ได้ปรับปรุงขยายความ
และได้มอบให้คณะระดมธรรมและธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งถือว่า เป็นการพิมพ์
ครั้งแรก และคณะระดมธรรม ได้จัดพิมพ์อีกเป็นครั้งที่ สอง
ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ เป็นการจัดพิมพ์ครั้งที่ สาม พระเดชพระคุณผู้เรียบเรียงได้
เมตตามอบให้มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จัดพิมพ์เผยแพร่ตลอดไป พระทั้ง
หนังสือพจนานุกรมศาสตร์ฉบับประมวลธรรม, พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
และธรรมนูญชีวิต
หนังสือพุทธธรรม ได้จัดพิมพ์มาแล้วถึง สิบครั้ง ปรากฎว่าได้รับความสนใจจากครู
อาจารย์ นิสิตนักศึกษา และสาธุชน เป็นอันมาก จนหมวดในเวลาไม่นานนัก
ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงได้จัดพิมพ์อีกเป็นครั้งที่ สิบเอ็ด จำนวน ๑๕,๐๐๐ เล่ม
และได้รับความเมตตาอนุญาติจากท่านเจ้าคุณพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เช่นเคย
จึงขอกราบขอบพระคุณไว้ ณ ที่นี้ เป็นอย่างสูง
ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย และผลแห่งกุศลธรรมวิทยาทาน อันประเสริฐนี้
จงเป็นพลังปกป้อง ให้พระเดชพระคุณมีสุขภาพ และ พลานามัย แข็งแรง
สมบูรณ์ สามารถบำเพ็ญศาสนกิจเป็นหิตานุหิตประโยชน์ต่อพหูชน เป็นธงชัย
ของมวลศิษย์และพุทธศาสนิกชน ตลอดกาลนาน
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๙ มกราคม ๒๕๕๒
...................................................................................................................
ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม
ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรมนั้น สรุปได้ 2 อย่าง คือ
1. แสดงหลักความจริงสายกลาย ที่เรียกว่า "มัชเฌนธรรม" หรือ เรียกเต็มว่า "มัชเฌนธรรมเทศนา"
ว่าด้วยความจริงตามแนวของเหตุผลบริสุทธิ์ ตามกระบวนการของธรรมชาติ นำมาแสดงเพื่อประโยชน์ในทางปฏิบัติในชีวิตจริงเท่านั้น
ไม่ส่งเสริม ความพยายามที่จะเข้าถึงสัจธรรมด้วยวิธี
ถกเถียง สร้างทฤษฎีต่างๆ ขึ้นแล้วยึดมั่นปกป้องทฤษฎีนั้นๆ ด้วยการเก็งความจริงทางปรัชญา
2. แสดงข้อปฏิบัติสายกลาย ที่เรียกว่า "มัชฌิมาปฏิปทา" อันเป็นหลักการครองชีวิตของผู้ฝึกอบรมตน
ผู้รู้เท่าทันชีวิต ไม่หลงงมงาย มุ่งผลสำเร็จ คือ ความสุข สะอาด สว่าง สงบ เป็นอิสระ ที่สามารถ มองเห็นได้ในชีวิตนี้
ในทางปฏิบัติ ความเป็นสายกลายนี้ เป็นไปโดยสัมพันธ์กับองค์ประกอบอื่นๆ
เช่น สภาพชีวิตของบรรพชิต หรือคฤหัสถ์ เป็นต้น (คัดลอกจากหนังสือ พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย หน้าที่ 6)
พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาแห่งการกระทำ (กรรมวาท และกิริยวาท) เป็นศาสนาแห่งความเพียร พยายาม
(วิริยวาท) ไม่ใช่ศาสนาแห่งการอ้อนวอนปรารถนา หรือศาสนา แห่งความห่วงกังวล.
Tags : พุทธธรรมฉบับปรับขยาย
สินค้าที่ดูล่าสุด
- พุทธธรรม750-รวมค่าห่อของข... ราคา 750.00 ฿
สินค้าและบริการที่เกี่ยวข้อง
-
รู้หลักก่อน แล้วศึกษาและสอนให้ได้ผล
รหัส : 978-974-389-0987 ราคา : 100.00 ฿ อัพเดท : 08/12/2010 ผู้เข้าชม : 3,506 -
พุทธธรรม-ฉบับปรับขยาย-พจนานุกรม-โดยพระพรหมคุณาภรณ์…
รหัส : 974-575-492-7 ราคา : 665.00 ฿ อัพเดท : 18/08/2021 ผู้เข้าชม : 74,717พจนานุกรมพุทธศาสน์-ฉบับประมวลศัพท์…
รหัส : 978-616-0301805 ราคา : 300.00 ฿ อัพเดท : 10/06/2019 ผู้เข้าชม : 9,585 -
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม…
รหัส : ประมวลธรรม ราคา : 250.00 ฿ อัพเดท : 10/06/2019 ผู้เข้าชม : 8,092พุทธธรรม-ฉบับเดิม-สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
รหัส : 978-616-030-9054 ราคา : 200.00 ฿ อัพเดท : 20/03/2020 ผู้เข้าชม : 11,512 -
อายุยืนอย่างมีคุณค่า ปาฐกถาธรรมเพื่อความมีชีวิตที่สงบเย็นและเป็นสุขอย่างยิ่ง
รหัส : อายุยืน-25 ราคา : 25.00 ฿ อัพเดท : 10/01/2019 ผู้เข้าชม : 6,124กรรม นรกสวรรค์สำหรับคนรุ่นใหม่…
รหัส : 978-974-841-751-6 ราคา : 100.00 ฿ อัพเดท : 29/03/2011 ผู้เข้าชม : 4,466 -
จากจิตวิทยา สู่ จิตภาวนา โดยพระพรหมคุณาภรณ์…
รหัส : 974-453-366-8 ราคา : 70.00 ฿ อัพเดท : 05/12/2011 ผู้เข้าชม : 5,735จากสุขในบ้าน สู่ความเกษมศาสนติ…
รหัส : 978-974-453-743-0 ราคา : 70.00 ฿ อัพเดท : 29/03/2011 ผู้เข้าชม : 1,749 -
เพิ่มพลังชีวิต โดยพระพรหมคุณาภรณ์
รหัส : 978-974-453-882-6 ราคา : 70.00 ฿ อัพเดท : 29/03/2011 ผู้เข้าชม : 2,547ภูมิธรรมชาวพุทธ โดยพระพรหมคุณาภรณ์…
รหัส : 978-974-453-744-7 ราคา : 70.00 ฿ อัพเดท : 29/03/2011 ผู้เข้าชม : 2,807 -
พระพุทธศาสนา กับโลกธุรกิจ (การใช้หลักพุทธธรรมในการทำธุรกิจ)…
รหัส : 974-9973-96-8 ราคา : 70.00 ฿ อัพเดท : 29/03/2011 ผู้เข้าชม : 4,470พัฒนาการ แบบองค์รวมของเด็กไทย…
รหัส : 978-974-453-367-6 ราคา : 70.00 ฿ อัพเดท : 29/03/2011 ผู้เข้าชม : 2,298 -
นรกสวรรค์ในพระไตรปิฎกนรกสวรรค์มีจริงหรือไม่ท่าทีของพระพุทธศานาต่อเรื่องนรกสวรรค์โดยพระพรหม
รหัส : 978-974-453-424-8 ราคา : 70.00 ฿ อัพเดท : 29/03/2011 ผู้เข้าชม : 3,007ทุกข์สำหรับเห็นสุขสำหรับเป็นหัวใจพุทธศาสนาแก่นแท้ของพุทธศาสนาแก่ธรรมเพื่อชีวิต
รหัส : 978-974-453-426-2 ราคา : 70.00 ฿ อัพเดท : 29/03/2011 ผู้เข้าชม : 2,001